
วันพฤหัสบดีที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2560
วันจันทร์ที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2560
ซอฟท์แวร์ คืออะไร (What is software)
ซอฟท์แวร์ |
ชนิด |
-
- ซอฟต์แวร์ระบบ
คือ ซอฟต์แวร์ที่ บริษัท ผู้ ผลิต สร้าง ขึ้น มา เพื่อ ใช้ จัด การกับระบบ หน้า ที่ การ ทำ งาน ของ ซอฟต์แวร์ระบบ คือ ดำ เนิน งาน พื้น ฐาน ต่าง ๆ ของ ระบบ คอมพิวเตอร์ เช่น รับ ข้อ มูล จาก แผง แป้น อักขระ แล้ว แปล ความ หมาย ให้ คอมพิวเตอร์ เข้า ใจ นำ ข้อ มูล ไป แสดง ผล บน จอ ภาพ หรือ นำ ออก ไป ยังเครื่องพิมพ์ จัด การ ข้อ มูล ใน ระบบ แฟ้ม ข้อ มูล บน หน่วย ความ จำ รอง - เมื่อ
เรา เปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ ทัน ที ที่ มี การ จ่าย กระแส ไฟ ฟ้า ให้กับคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ จะ ทำ งาน ตาม โปรแกรม ทัน ที โปรแกรม แรก ที่ สั่ง คอมพิวเตอร์ ทำ งาน นี้ เป็น ซอฟต์แวร์ระบบ ซอฟต์แวร์ระบบ อาจ เก็บ ไว้ ใน รอม หรือ ใน แผ่น จาน แม่ เหล็ก หาก ไม่ มี ซอฟต์แวร์ระบบ คอมพิวเตอร์ จะ ทำ งาน ไม่ ได้ - ซอฟต์แวร์ระบบ
ยัง ใช้ เป็นเครื่องมือ ใน การ พัฒนา ซอฟต์แวร์อื่น ๆ และ ยัง รวม ไป ถึง ซอฟต์แวร์ที่ ใช้ ใน การ แปล ภาษา ต่าง ๆ - ซอฟต์แวร์ประยุกต์
เป็น ซอฟต์แวร์ที่ ใช้กับงาน ด้าน ต่าง ๆ ตาม ความ ต้อง การ ของ ผู้ ใช้ ที่ สามารถ นำ มา ใช้ ประ โยชน์ ได้ โดย ตรง ปัจจุบัน มี ผู้ พัฒนา ซอฟต์แวร์ใช้ งาน ทางด้าน ต่าง ๆ ออก จำหน่าย มาก การ ประยุกต์ งาน คอมพิวเตอร์ จึง กว้าง ขวาง และ แพร่ หลาย เรา อาจ แบ่ง ซอฟต์แวร์ประยุกต์ ออก เป็น สอง กลุ่ม คือ ซอฟต์แวร์สำเร็จ และ ซอฟต์แวร์ที่ พัฒนา ขึ้น ใช้ งาน เฉพาะ ซอฟต์แวร์สำเร็จ ใน ปัจจุบัน มี มาก มาย เช่น ซอฟต์แวร์ประมวล คำ ซอฟต์แวร์ตา ราง ทำ งาน ฯล ฯ - ซอฟต์แวร์ระบบ

ซอฟท์แวร์ |
-
- ใช้
ใน การ จัด การ หน่วย รับ เข้า และ หน่วย ส่ง ออก เช่น รับ การ กด แป้น ต่าง ๆ บน แผง แป้น อักขระ ส่ง รหัส ตัว อักษร ออก ทางจอ ภาพ หรือเครื่องพิมพ์ ติด ต่อกับอุปกรณ์ รับ เข้า และ ส่ง ออก อื่น ๆ เช่น เมาส์ อุปกรณ์ สังเคราะห์ เสียง - ใช้
ใน การ จัด การ หน่วย ความ จำ เพื่อ นำ ข้อ มูล จาก แผ่น บัน ทึก มา บรรจุ ยัง หน่วย ความ จำ หลัก หรือ ใน ทำนอง กลับ กัน คือ นำ ข้อ มูล จาก หน่วย ความ จำ หลัก มา เก็บ ไว้ ใน แผ่น บัน ทึก - ใช้
เป็น ตัว เชื่อม ต่อ ระหว่าง ผู้ ใช้ งานกับคอมพิวเตอร์ สามารถ ใช้ งาน ได้ ง่ายขึ้น เช่น การ ขอ ดู ราย การ สารบบ ใน แผ่น บัน ทึก การ ทำ สำเนา แฟ้ม ข้อ มูล - ใช้
- ระบบ
ปฏิบัติ การ - ระบบ
ปฏิบัติ การ หรือ ที่ เรียก ย่อ ๆ ว่า โอ เอส (Operating System : OS) เป็น ซอฟต์แวร์ใช้ ใน การ ดู แล ระบบ คอมพิวเตอร์ เครื่องคอมพิวเตอร์ ทุกเครื่องจะ ต้อง มี ซอฟต์แวร์ระบบ ปฏิบัติ การ นี้ ระบบ ปฏิบัติ การ ที่ นิยม ใช้ กัน มาก และ เป็น ที่ รู้ จัก กัน ดี เช่นดอส (Disk Operating System : DOS) วินโดวส์ (Windows) โอ เอสทู (OS/2) ยูนิกซ์ (UNIX) - 1) ดอส
เป็น ซอฟต์แวร์จัด ระบบ งาน ที่ พัฒนา มา นาน แล้ว การ ใช้ งาน จึง ใช้ คำ สั่ง เป็น ตัว อักษร ดอสเป็น ซอฟต์แวร์ที่ รู้ จัก กัน ดี ใน หมู่ ผู้ ใช้ ไมโคร คอมพิวเตอร์ - 2) วินโดวส์ เป็น
ระบบ ปฏิบัติ การ ที่ พัฒนา ต่อ จากดอส เพื่อ เน้น การ ใช้ งาน ที่ ง่ายขึ้น สามารถ ทำ งาน หลาย งาน พร้อม กัน ได้ โดย งาน แต่ ละ งาน จะ อยู่ ใน กรอบ ช่อง หน้า ต่าง ที่ แสดง ผล บน จอ ภาพ การ ใช้ งาน เน้น รูป แบ บก รา ฟิก ผู้ ใช้ งาน สามารถ ใช้ เมาส์เลื่อน ตัว ชี้ ตำแหน่ง เพื่อ เลือก ตำแหน่ง ที่ปรากฏบน จอ ภาพ ทำ ให้ ใช้ งาน คอมพิวเตอร์ ได้ ง่าย วินโดวส์จึง ได้ รับ ความ นิยม ใน ปัจจุบัน - 3) โอ
เอสทู เป็น ระบบ ปฏิบัติ การ แบบ เดียวกับวินโดว์ส แต่ บริษัท ผู้ พัฒนา คือ บริษัท ไอบีเอ็ม เป็น ระบบ ปฏิบัติ การ ที่ ให้ ผู้ ใช้ สามารถ ใช้ ทำ งาน ได้ หลาย งาน พร้อม กัน และ การ ใช้ งาน ก็ เป็น แบ บก รา ฟิก เช่น เดียวกับวินโดวส ์ - 4) ยูนิกซ์
เป็น ระบบ ปฏิบัติ การ ที่ พัฒนา มา ตั้ง แต่ ครั้ง ใช้กับเครื่องมิ นิ คอมพิวเตอร์ ระบบปฎิบัติ การยูนิกซ์เป็น ระบบ ปฏิบัติ การ ที่ สามารถ ใช้ งาน ได้ หลาย งาน พร้อม กัน และ ทำ งาน ได้ หลาย ๆ งาน ใน เวลา เดียว กัน ยูนิกซ์จึง ใช้ ได้กับเครื่องที่ เชื่อม โยง และ ต่อกับเครื่อปลาย ทางได้ หลายเครื่องพร้อม กัน - ระบบ
ปฏิบัติ การ ยัง มี อีก มาก โดย เฉพาะ ระบบ ปฏิบัติ การ ที่ ใช้ ใน เครือ ข่าย คอมพิวเตอร์ เพื่อ ให้ คอมพิวเตอร์ ทำ งาน ร่วม กัน เป็น ระบบ เช่น ระบบ ปฏิบัติ การเน็ตแวร์ วินโดว์สเอ็น ที
- ตัว
แปล ภาษา - ใน
การ พัฒนา ซอฟต์แวร์จำ เป็น ต้อง มี ซอฟต์แวร์ที่ ใช้ ใน การ แปล ภาษา ระดับ สูง เพื่อ แปล ภาษา ระดับ สูง ให้ เป็น ภาษาเครื่อง ภาษา ระดับ สูง มี หลาย ภาษา ภาษา ระดับ สูง เหล่า นี้ สร้าง ขึ้น เพื่อ ให้ ผู้ เขียน โปรแกรม เขียน ชุด คำ สั่ง ได้ ง่าย เข้า ใจ ได้ ตลอด จน ถึง สามารถ ปรับ ปรุง แก้ ไข ซอฟต์แวร์ใน ภาย หลัง ได้ - ภาษา
ระดับ สูง ที่ พัฒนา ขึ้น มา ทุก ภาษา จะ ต้อง มี ตัว แปล ภาษา สำหรับ แปล ภาษา ภาษา ระดับ สูง ซึ่ง เป็น ที่ รู้ จัก และ นิยม กัน มาก ใน ปัจจุบัน เช่น ภาษา ปาสคาล ภาษาเบสิก ภาษา ซี และ ภาษาโลโก - 1) ภาษา
ปาสคาล เป็น ภาษา สั่ง งาน คอมพิวเตอร์ ที่ มี รูป แบบ เป็น โครง สร้าง เขียน สั่ง งาน คอมพิวเตอร์ เป็น กระบวน ความ ผู้ เขียน สามารถ แบ่ง แยก งาน ออก เป็น ชิ้น เล็ก ๆ แล้ว มา รวม กัน เป็น โปรแกรม ขนาด ใหญ่ ได้ - 2) ภาษาเบสิก
เป็น ภาษา ที่ มี รูป แบบ คำ สั่ง ไม่ ยุ่ง ยาก สามารถ เรียน รู้ และ เข้า ใจ ได้ ง่าย มี รูป แบบ คำ สั่ง พื้น ฐาน ที่ สามารถ นำ มา เขียน เรียง ต่อ กัน เป็น โปรแกรม ได้ - 3) ภาษาซ
ี เป็น ภาษา ที่ เหมาะ สำหรับ ใช้ ใน การ พัฒนา ซอฟต์แวร์อื่น ๆ ภาษา ซี เป็น ภาษา ที่ มี โครง สร้าง คล่อง ตัว สำหรับ การ เขียน โปรแกรม หรือ ให้ คอมพิวเตอร์ ติดต ่อกับอุปกรณ์ ต่าง ๆ - 4) ภาษาโลโก
เป็น ภาษา ที่ เหมาะ สำหรับ การ เรียน รู้ และ เข้า ใจ หลัก การ โปรแกรม ภาษาโลโก ได้ รับ การ พัฒนา สำ หรับ เด็ก - นอก
จาก ภาษา ที่ กล่าว ถึง แล้ว ยัง มี ภาษา คอมพิวเตอร์ ที่ ใช้ กัน อยู่ ใน ปัจจุบัน อีก มาก มาย หลาย ภาษา เช่น ภาษาฟอร์แทรน ภาษา โค บอล ภาษา อาร์พีจ ี - ระบบ
ซอฟท์แวร์ |
- ซอฟต์แวร์สำเร็จ
- ใน
บรรดา ซอฟต์แวร์ประยุกต์ ที่ มี ใช้ กัน ทั่ว ไป ซอฟต์แวร์สำเร็จ (package) เป็น ซอฟต์แวร์ที่ มี ความ นิยม ใช้ กัน สูง มาก ซอฟต์แวร์สำเร็จ เป็น ซอฟต์แวร์ที่ บริษัท พัฒนา ขึ้น แล้ว นำ ออก มา จำหน่าย เพื่อ ให้ ผู้ ใช้ งาน ซื้อ ไป ใช้ ได้ โดย ตรง ไม่ ต้อง เสีย เวลา ใน การ พัฒนา ซอฟต์แวร์อีก ซอฟต์แวร์สำเร็จ ที่ มี จำหน่าย ใน ท้อง ตลาด ทั่ว ไป และ เป็น ที่ นิยม ของ ผู้ ใช้ มี 5 กลุ่ม ใหญ่ ได้ แก่ ซอฟต์แวร์ประมวล คำ (word processing software) ซอฟต์แวร์ตา ราง ทำ งาน (spread sheet software) ซอฟต์แวร์จัด การ ฐาน ข้อ มูล (data base management software) ซอฟต์แวร์นำ เสนอ (presentation software) และ ซอฟต์แวร์สื่อ สาร ข้อ มูล (data communication software) - 1) ซอฟต์แวร์ประมวล
คำ เป็น ซอฟต์แวร์ประยุกต์ ใช้ สำหรับ การ พิมพ์ เอก สาร สามารถ แก้ ไข เพิ่ม แทรก ลบ และ จัด รูป แบบ เอก สาร ได้ อย่าง ดี เอก สาร ที่ พิมพ์ ไว้ จัด เป็น แฟ้ม ข้อ มูล เรียก มา พิมพ์ หรือ แก้ ไข ใหม่ ได้ การ พิมพ์ ออก ทางเครื่องพิมพ์ ก็ มี รูป แบบ ตัว อักษร ให้ เลือก หลาย รูป แบบ เอก สาร จึง ดู เรียบ ร้อย สวย งาม ปัจจุบัน มี การ เพิ่ม ขีด ความ สามารถ ของ ซอฟต์แวร์ประมวล คำ อีก มาก มาย ซอฟต์แวร์ประมวล คำ ที่ นิยม อยู่ ใน ปัจจุบัน เช่น วินส์เวิร์ด จุฬา จารึก โลตัสเอ มิ โป ร - 2) ซอฟต์แวร์ตา
ราง ทำ งาน เป็น ซอฟต์แวร์ที่ ช่วย ใน การ คิด คำนวณ การ ทำ งาน ของ ซอฟต์แวร์ตา ราง ทำ งาน ใช้ หลัก การ เสมือน มี โต๊ะ ทำ งาน ที่ มี กระดาษ ขนาด ใหญ่ วาง ไว้ มีเครื่องมือ คล้าย ปากกา ยาง ลบ และเครื่องคำนวณ เตรียม ไว้ ให้ เสร็จ บน กระดาษ มี ช่อง ให้ ใส่ ตัว เลข ข้อ ความ หรือ สูตร สามารถ สั่ง ให้ คำนวณ ตาม สูตร หรือ เงื่อน ไข ที่ กำหนด ผู้ ใช้ ซอฟต์แวร์ตา ราง ทำ งาน สามารถ ประยุกต์ ใช้ งาน ประมวล ผล ตัว เลข อื่น ๆ ได้ กว้าง ขวาง ซอฟต์แวร์ตา ราง ทำ งาน ที่ นิยม ใช้ เช่น เอก เซล โลตั ส - 3) ซอฟต์แวร์จัด
การ ฐาน ข้อ มูล การ ใช้ คอมพิวเตอร์ อย่าง หนึ่ง คือ การ ใช้ เก็บ ข้อ มูล และ จัด การกับข้อ มูล ที่ จัด เก็บ ใน คอมพิวเตอร์ จึง จำ เป็น ต้อง มี ซอฟต์แวร์จัด การ ข้อ มูล การ รวบ รวม ข้อ มูล หลาย ๆ เรื่อง ที่ เกี่ยว ข้อง กัน ไว้ ใน คอมพิวเตอร์ เรา ก็ เรียก ว่า ฐาน ข้อ มูล ซอฟต์แวร์จัด การ ฐาน ข้อ มูล จึง หมาย ถึง ซอฟต์แวร์ที่ ช่วย ใน การ เก็บ การ เรียก ค้น มา ใช้ งาน การ ทำ ราย งาน การ สรุป ผล จาก ข้อ มูล ซอฟต์แวร์จัด การ ฐาน ข้อ มูล ที่ นิยม ใช้ เช่น เอก เซส ดี เบส พา ราด็อก ฟ๊อก เบส - 4) ซอฟต์แวร์นำ
เสนอ เป็น ซอฟต์แวร์ที่ ใช้ สำหรับ นำ เสนอ ข้อ มูล การ แสดง ผล ต้อง สามารถ ดึง ดูด ความ สน ใจ ซอฟต์แวร์เหล่า นี้ จึง เป็น ซอฟต์แวร์ที่ นอก จาก สามารถ แสดง ข้อ ความ ใน ลักษณะ ที่ จะ สื่อ ความ หมาย ได้ ง่ายแล้ว จะ ต้อง สร้าง แผน ภูมิ กราฟ และ รูป ภาพ ได้ ตัว อย่าง ของ ซอฟต์แวร์นำ เสนอ เช่น เพาเวอร์พอยต์ โลตัสฟรี แลนซ์ ฮาร์วาร์ดก รา ฟิก - 5) ซอฟต์แวร์สื่อ
สาร ข้อ มูล ซอฟต์แวร์สื่อ สาร ข้อ มูล นี้ หมาย ถึง ซอฟต์แวร์ที่ จะ ช่วย ให้ ไมโคร คอมพิวเตอร์ ติด ต่อ สื่อ สารกับเครื่องคอมพิวเตอร์ อื่น ใน ที่ ห่าง ไกล โดย ผ่าน ทางสาย โทรศัพท์ ซอฟต์แวร์สื่อ สาร ใช้ เชื่อม โยง ต่อ เข้ากับระบบ เครือ ข่าย คอมพิวเตอร์ เช่น อินเทอร์เน็ต ทำ ให้ สามารถ ใช้ บริการ อื่น ๆ เพิ่ม เติม ได้ สามารถ ใช้ รับ ส่ง ไปรษณีย์ อิเล็กทรอนิกส์ ใช้ โอน ย้าย แฟ้ม ข้อ มูล ใช้ แลก เปลี่ยน ข้อ มูล อ่าน ข่าว สาร นอก จาก นี้ ยัง ใช้ ใน การ เชื่อม เข้า หา มิ นิ คอมพิวเตอร์ หรือเมนเฟรม เพื่อ เรียก ใช้ งาน จากเครื่องเหล่า นั้น ได้ ซอฟต์แวร์สื่อ สาร ข้อ มูล ที่ นิยม มี มาก มาย หลาย ซอฟต์แวร์ เช่น โปรคอม ครอสทอล์ค เท ลิ ก
- ซอฟต์แวร์ใช้
งาน เฉพาะ - การ
ประยุกต์ ใช้ งาน ด้วย ซอฟต์แวร์สำเร็จ มัก จะ เน้น การ ใช้ งาน ทั่ว ไป แต่ อาจ จะ นำ มา ประยุกต์ โดย ตรงกับงาน ทางธุรกิจ บาง อย่าง ไม่ ได้ เช่น ใน กิจ การ ธนาคาร มี การ ฝาก ถอน เงิน งาน ทางด้าน บัญชี หรือ ใน ห้าง สรรพ สิน ค้า ก็ มี งาน การ ขาย สิน ค้า การ ออก ใบ เสร็จ รับ เงิน การ ควบ คุม สิน ค้า คง คลัง ดัง นั้น จึง ต้อง มี การ พัฒนา ซอฟต์แวร์ใช้ งาน เฉพาะ สำหรับ งาน แต่ ละ ประเภท ให้ ตรงกับความ ต้อ งการ ของ ผู้ ใช้ แต่ ละ ราย - ซอฟต์แวร์ใช้
งาน เฉพาะ มัก เป็น ซอฟต์แวร์ที่ ผู้ พัฒนา ต้อง เข้า ไป ศึกษา รูป แบบ การ ทำ งาน หรือ ความ ต้อง การ ของ ธุรกิจ นั้น ๆ แล้ว จัด ทำ ขึ้น โดย ทั่ว ไป จะ เป็น ซอฟต์แวร์ที่ มี หลาย ส่วน รวม กัน เพื่อ ร่วม กัน ทำ งาน ซอฟต์แวร์ใช้ งาน เฉพาะ ที่ ใช้ กัน ใน ทางธุรกิจ เช่น ระบบ งาน ทางด้าน บัญชี ระบบ งาน จัด จำหน่าย ระบบ งาน ใน โรง งาน อุตสาหกรรม บริหาร การ เงิน และ การเช่าซื้อ - ความ
ต้อง การ ของ การ ใช้ คอมพิวเตอร์ ใน งาน ทางธุรกิจ ยัง มี อีก มาก ดัง นั้น จึง ต้อง มี ความ ต้อง การ ผู้ พัฒนา ซอฟต์แวร์เพื่อ พัฒนา ซอฟต์แวร์ใช้ งาน เฉพาะ ต่าง ๆ อีก มาก มาย - เครดิตจาก https://web.ku.ac.th/schoolnet/snet1/software/software/
- ใน
วันอังคารที่ 24 มกราคม พ.ศ. 2560
การแก้ไขปัญหาราคาสัปปะรดตกต่ำ
จากกรณีศึกษาตามข้อมูลที่ช่วยในการแก้ปัญหา ดังนี้
ก.พ่อค้าคนกลางรับซื้อกิโลกรัมละ 7 บาท
ข.ตลาดกลางรับซื้อกิโลกรัมละ 8 บาท แต่รับได้ 80% ของการผลิต
ค.แปรรูปขาย OTOP
วิธีที่แนะนำคือ ค.แปรรูปขาย OTOP เพราะมันน่าจะเป็นการแปรรูปทำให้สัปปะรดที่ธรรมดา
เป็นสิ่งที่แปลกใหม่ไม่ซ้ำใครแถมจะเป็นการเพิ่มมูลค่าของสัปปะรดไปในตัวอีกด้วยและยัง
สามารถนำเศษที่เหลือจากการแปรรูปไปใช้ต่อไปได้อีก
วันจันทร์ที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2560
องค์ประกอบของระบบสื่อสารข้อมูล
องค์ประกอบของระบบสื้อสารข้อมูลองค์ประกอบขั้นพื้นฐานของระบบสื่อสารโทรคมนาคม สามารถจำแนกออกเป็นส่วนประกอบได้ดังต่อไปนี้ ผู้ส่งข่าวสารหรือแหล่งกำเนิดข่าวสาร (Source) อาจจะเป็นสัญญาณต่าง ๆ เช่น สัญญาณภาพข้อมูล และเสียงเป็นต้น ในการติดต่อสื่อสารสมัยก่อนอาจจะใช้แสงไฟ ควันไฟ หรือท่าทางต่าง ๆ ก็นับว่าเป็นแหล่งกำเนิดข่าวสาร จัดอยู่ในหมวดหมู่นี้เช่นกัน ผู้รับข่าวสารหรือจุดหมายปลายทางของข่าวสาร (Destination) ซึ่งจะรับรู้จากสิ่งที่ผู้ส่งข่าวสารหรือแหล่งกำเนิดข่าวสารส่งผ่านมาให้ ตราบใดที่ การติดต่อสื่อสารบรรลุวัตถุประสงค์ ผู้รับสารหรือจุดหมายปลายทางของข่าวสารก็จะได้รับข่าวสารนั้น ๆ ถ้าผู้รับสารหรือจุดหมายปลายทางไม่ได้รับข่าวสาร ก็แสดงว่าการสื่อสารนั้นไม่ประสบความสำเร็จ กล่าวคือไม่มีการสื่อสารเกิดขึ้นนั่นเอง
2. ผู้รับ (Receiver) เป็นปลายทางการสื่อสาร มีหน้าที่รับข้อมูลที่ส่งมาให้ เช่น ผู้ฟัง เครื่องรับโทรทัศน์ เครื่องพิมพ์ เป็นต้น
3. สื่อกลาง (Medium) หรือตัวกลาง เป็นเส้นทางการสื่อสารเพื่อนำข้อมูลจากต้นทางไปยังปลายทาง สื่อส่งข้อมูลอาจเป็นสายคู่บิดเกลียว สายโคแอกเชียล สายใยแก้วนำแสง หรือคลื่นที่ส่งผ่านทางอากาศ เช่น เลเซอร์ คลื่นไมโครเวฟ คลื่นวิทยุภาคพื้นดิน หรือคลื่นวิทยุผ่านดาวเทียม
4. ข้อมูลข่าวสาร (Message) คือสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ที่ส่งผ่านไปในระบบสื่อสาร ซึ่งอาจถูกเรียกว่า สารสนเทศ (Information) โดยแบ่งเป็น 5รูปแบบ ดังนี้
4.1 ข้อความ (Text) ใช้แทนตัวอักขระต่าง ๆ ซึ่งจะแทนด้วยรหัสต่าง ๆ เช่น รหัสแอสกี เป็นต้น
4.2 ตัวเลข (Number) ใช้แทนตัวเลขต่าง ๆ ซึ่งตัวเลขไม่ได้ถูกแทนด้วยรหัสแอสกีแต่จะถูกแปลงเป็นเลขฐานสองโดยตรง
4.3 รูปภาพ (Images) ข้อมูลของรูปภาพจะแทนด้วยจุดสีเรียงกันไปตามขนาดของรูปภาพ
4.4 เสียง (Audio) ข้อมูลเสียงจะแตกต่างจากข้อความ ตัวเลข และรูปภาพเพราะข้อมูลเสียงจะเป็นสัญญาณต่อเนื่องกันไป
4.5 วิดีโอ (Video) ใช้แสดงภาพเคลื่อนไหว ซึ่งเกิดจากการรวมกันของรูปภาพหลาย ๆ รูป
5. โปรโตคอล (Protocol) คือ วิธีการหรือกฎระเบียบที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูลเพื่อให้ผู้รับและผู้ส่ง สามารถเข้าใจกันหรือคุยกันรู้เรื่อง โดยทั้งสองฝั่งทั้งผู้รับและผู้ส่งได้ตกลงกันไว้ก่อนล่วงหน้าแล้ว ในคอมพิวเตอร์โปรโตคอลอยู่ในส่วนของซอฟต์แวร์ที่มีหน้าที่ทำให้การดำเนินงาน ในการสื่อสารข้อมูลเป็นไปตามโปรแกรมที่กำหนดไว้ ตัวอย่างเช่น X.25, SDLC, HDLC, และ TCP/IP เป็นต้น
การเข้ารหัส (Encoding) เป็นการช่วยให้ผู้ส่งข่าวสารและผู้รับข่าวสารมีความเข้าใจตรงกันในการสื่อ ความหมาย จึงมีความจำเป็นต้องแปลงความหมายนี้ การเข้ารหัสจึงหมายถึงการแปลงข่าวสารให้อยู่ในรูปพลังงานที่พร้อมจะส่งไปใน สื่อกลาง ทางผู้ส่งมีความเข้าใจต้องตรงกันระหว่างผู้ส่งและผู้รับ หรือมีรหัสเดียวกัน การสื่อสารจึงเกิดขึ้นได้
การถอดรหัส (Decoding) หมายถึงการที่ผู้รับข่าวสารแปลงพลังงานจากสื่อกลางให้กลับไปอยู่ในรูปข่าว สารที่ส่งมาจากผู้ส่งข่าวสาร โดยมีความเข้าในหรือรหัสตรงกัน
สัญญาณรบกวน (Noise) เป็นสิ่งที่มีอยู่ในธรรมชาติ มักจะลดทอนหรือรบกวนระบบ อาจจะเกิดขึ้นได้ทั้งทางด้านผู้ส่งข่าวสาร ผู้รับข่าวสาร และช่องสัญญาณ แต่ในการศึกษาขั้นพื้นฐานมักจะสมมติให้ทางด้านผู้ส่งข่าวสารและผู้รับข่าว สารไม่มีความผิดพลาด ตำแหน่งที่ใช้วิเคราะห์มักจะเป็นที่ตัวกลางหรือช่องสัญญาณ เมื่อไรที่รวมสัญญาณรบกวนด้านผู้ส่งข่าวสารและด้านผู้รับข่าวสาร ในทางปฎิบัติมักจะใช้วงจรกรอง (Filter) กรองสัญญาณแต่ต้นทาง เพื่อให้การสื่อสารมีคุณภาพดียิ่งขึ้นแล้วค่อยดำเนินการ เช่น การเข้ารหัสแหล่งข้อมูล เป็นต้น
เครือข่ายการสื่อสารข้อมูล
หมายถึง การรับส่งข้อมูลหรือสารสนเทศจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง โดยอาศัยระบบการส่งข้อมูล ทางคลื่นไฟฟ้าหรือแสง อุปกรณ์ที่ประกอบเป็นระบบการสื่อสารข้อมูลโดยทั่วไปเรียกว่า เครือข่ายการสื่อสารข้อมูล (Data Communication Networks)
- หน่วยส่งข้อมูล (Sending Unit)
- ช่องทางการส่งข้อมูล (Transmisstion Channel)
- หน่วยรับข้อมูล (Receiving Unit)
2. ผู้รับ (Receiver) เป็นปลายทางการสื่อสาร มีหน้าที่รับข้อมูลที่ส่งมาให้ เช่น ผู้ฟัง เครื่องรับโทรทัศน์ เครื่องพิมพ์ เป็นต้น
3. สื่อกลาง (Medium) หรือตัวกลาง เป็นเส้นทางการสื่อสารเพื่อนำข้อมูลจากต้นทางไปยังปลายทาง สื่อส่งข้อมูลอาจเป็นสายคู่บิดเกลียว สายโคแอกเชียล สายใยแก้วนำแสง หรือคลื่นที่ส่งผ่านทางอากาศ เช่น เลเซอร์ คลื่นไมโครเวฟ คลื่นวิทยุภาคพื้นดิน หรือคลื่นวิทยุผ่านดาวเทียม
4. ข้อมูลข่าวสาร (Message) คือสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ที่ส่งผ่านไปในระบบสื่อสาร ซึ่งอาจถูกเรียกว่า สารสนเทศ (Information) โดยแบ่งเป็น 5รูปแบบ ดังนี้
4.1 ข้อความ (Text) ใช้แทนตัวอักขระต่าง ๆ ซึ่งจะแทนด้วยรหัสต่าง ๆ เช่น รหัสแอสกี เป็นต้น
4.2 ตัวเลข (Number) ใช้แทนตัวเลขต่าง ๆ ซึ่งตัวเลขไม่ได้ถูกแทนด้วยรหัสแอสกีแต่จะถูกแปลงเป็นเลขฐานสองโดยตรง
4.3 รูปภาพ (Images) ข้อมูลของรูปภาพจะแทนด้วยจุดสีเรียงกันไปตามขนาดของรูปภาพ
4.4 เสียง (Audio) ข้อมูลเสียงจะแตกต่างจากข้อความ ตัวเลข และรูปภาพเพราะข้อมูลเสียงจะเป็นสัญญาณต่อเนื่องกันไป
4.5 วิดีโอ (Video) ใช้แสดงภาพเคลื่อนไหว ซึ่งเกิดจากการรวมกันของรูปภาพหลาย ๆ รูป
5. โปรโตคอล (Protocol) คือ วิธีการหรือกฎระเบียบที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูลเพื่อให้ผู้รับและผู้ส่ง สามารถเข้าใจกันหรือคุยกันรู้เรื่อง โดยทั้งสองฝั่งทั้งผู้รับและผู้ส่งได้ตกลงกันไว้ก่อนล่วงหน้าแล้ว ในคอมพิวเตอร์โปรโตคอลอยู่ในส่วนของซอฟต์แวร์ที่มีหน้าที่ทำให้การดำเนินงาน ในการสื่อสารข้อมูลเป็นไปตามโปรแกรมที่กำหนดไว้ ตัวอย่างเช่น X.25, SDLC, HDLC, และ TCP/IP เป็นต้น
การเข้ารหัส (Encoding) เป็นการช่วยให้ผู้ส่งข่าวสารและผู้รับข่าวสารมีความเข้าใจตรงกันในการสื่อ ความหมาย จึงมีความจำเป็นต้องแปลงความหมายนี้ การเข้ารหัสจึงหมายถึงการแปลงข่าวสารให้อยู่ในรูปพลังงานที่พร้อมจะส่งไปใน สื่อกลาง ทางผู้ส่งมีความเข้าใจต้องตรงกันระหว่างผู้ส่งและผู้รับ หรือมีรหัสเดียวกัน การสื่อสารจึงเกิดขึ้นได้
การถอดรหัส (Decoding) หมายถึงการที่ผู้รับข่าวสารแปลงพลังงานจากสื่อกลางให้กลับไปอยู่ในรูปข่าว สารที่ส่งมาจากผู้ส่งข่าวสาร โดยมีความเข้าในหรือรหัสตรงกัน
สัญญาณรบกวน (Noise) เป็นสิ่งที่มีอยู่ในธรรมชาติ มักจะลดทอนหรือรบกวนระบบ อาจจะเกิดขึ้นได้ทั้งทางด้านผู้ส่งข่าวสาร ผู้รับข่าวสาร และช่องสัญญาณ แต่ในการศึกษาขั้นพื้นฐานมักจะสมมติให้ทางด้านผู้ส่งข่าวสารและผู้รับข่าว สารไม่มีความผิดพลาด ตำแหน่งที่ใช้วิเคราะห์มักจะเป็นที่ตัวกลางหรือช่องสัญญาณ เมื่อไรที่รวมสัญญาณรบกวนด้านผู้ส่งข่าวสารและด้านผู้รับข่าวสาร ในทางปฎิบัติมักจะใช้วงจรกรอง (Filter) กรองสัญญาณแต่ต้นทาง เพื่อให้การสื่อสารมีคุณภาพดียิ่งขึ้นแล้วค่อยดำเนินการ เช่น การเข้ารหัสแหล่งข้อมูล เป็นต้น
เครือข่ายการสื่อสารข้อมูล
หมายถึง การรับส่งข้อมูลหรือสารสนเทศจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง โดยอาศัยระบบการส่งข้อมูล ทางคลื่นไฟฟ้าหรือแสง อุปกรณ์ที่ประกอบเป็นระบบการสื่อสารข้อมูลโดยทั่วไปเรียกว่า เครือข่ายการสื่อสารข้อมูล (Data Communication Networks)
- หน่วยส่งข้อมูล (Sending Unit)
- ช่องทางการส่งข้อมูล (Transmisstion Channel)
- หน่วยรับข้อมูล (Receiving Unit)

1. ผู้ส่ง (Sender) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการส่งข่าวสาร (Message) เป็นต้นทางของการสื่อสารข้อมูลมีหน้าที่เตรียมสร้างข้อมูล เช่น ผู้พูด โทรทัศน์ กล้องวิดีโอ เป็นต้น
ช่องสัญญาณ (Channel) ในที่นี้อาจ จะหมายถึงสื่อกลางหรือตัวกลางที่ข่าวสารเดินทางผ่าน อาจจะเป็นอากาศ สายนำสัญญาณต่าง ๆ หรือแม้กระทั่งของเหลว เช่น น้ำ น้ำมัน เป็นต้น เปรียบเสมือนเป็นสะพานที่จะให้ข่าวสารข้ามจากฝั่งหนึ่งไปยังอีกฝั่งหนึ่ง
องค์ประกอบพื้นฐาน
รู้เบื้องต้นของการสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
นี่คือความรู้เบื้องต้นของการสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ประวัติอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต(Internet) คืออะไร
อินเทอร์เน็ต(Internet)คือ เครือข่ายนานาชาติ ที่เกิดจากเครือข่ายเล็ก ๆ มากมาย รวมเป็นเครือข่าย เดียวกันทั้งโลก หรือทั้งจักรวาล
อินเทอร์เน็ต(Internet)คือ เครือข่ายสื่อสาร ซึ่งเชื่อมโยงกันระหว่างคอมพิวเตอร์ทั้งหมด ที่ต้องการเข้ามา ในเครือข่าย
อินเทอร์เน็ต(Internet)คือ การเชื่อมต่อกันระหว่างเครือข่าย
อินเทอร์เน็ต(Internet)คือ เครือข่ายของเครือข่าย (A network of network)
สำหรับคำว่า internet หากแยกศัพท์จะได้ออกมา 2 คำ คือ คำว่า Inter และคำว่า net ซึ่ง Inter หมายถึงระหว่าง หรือท่ามกลาง และคำว่า Net มาจากคำว่า Network หรือเครือข่าย เมื่อนำความหมาย ของทั้ง 2 คำมารวมกัน จึงแปลได้ว่า การเชื่อมต่อกันระหว่างเครือข่าย
ประวัติความเป็นมา
- อินเทอร์เน็ต ซึ่งเป็นโครงการของ ARPAnet(Advanced Research Projects Agency Network) ซึ่งเป็นหน่วยงานที่สังกัด กระทรวงกลาโหม ของสหรัฐ (U.S.Department of Defense - DoD) ถูกก่อตั้ง เมื่อประมาณ ปีค.ศ.1960(พ.ศ.2503) และได้ถูกพัฒนาเรื่อยมา
- ค.ศ.1969(พ.ศ.2512) ARPA ได้รับทุนสนันสนุน จากหลายฝ่าย ซึ่งหนึ่งในผู้สนับสนุนก็คือ Edward Kenedy และเปลี่ยนชื่อจาก ARPA เป็น DARPA(Defense Advanced Research Projects Agency) พร้อมเปลี่ยนแปลงนโยบายบางอย่าง
และในปีค.ศ.1969(พ.ศ.2512)นี้เองที่ได้ทดลองการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์คนละชนิด จาก 4 แห่ง เข้าหากันเป็นครั้งแรก คือ มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย สถาบันวิจัยสแตนฟอร์ด มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย และมหาวิทยาลัยยูทาห์ เครือข่ายทดลองประสบความสำเร็จอย่างมาก ดังนั้นในปีค.ศ.1975(พ.ศ.2518) จึงได้เปลี่ยนจากเครือข่ายทดลอง เป็นเครือข่ายที่ใช้งานจริง ซึ่ง DARPA ได้โอนหน้าที่รับผิดชอบ โดยตรง ให้แก่ หน่วยการสื่อสารของกองทัพสหรัฐ (Defense Communications Agency - ปัจจุบันคือ Defense Informations Systems Agency) แต่ในปัจจุบัน Internet มีคณะทำงานที่รับผิดชอบบริหาร เครือข่ายโดยรวม เช่น ISOC (Internet Society) ดูแลวัตถุประสงค์หลัก, IAB (Internet Architecture Board) พิจารณาอนุมัติมาตรฐานใหม่ในInternet, IETF (Internet Engineering Task Force) พัฒนามาตรฐานที่ใช้กับ Internet ซึ่งเป็นการทำงานโดยอาสาสมัคร ทั้งสิ้น
- ค.ศ.1983(พ.ศ.2526) DARPA ตัดสินใจนำ TCP/IP (Transmission Control Protocal/Internet Protocal) มาใช้กับคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องในระบบ ทำให้เป็นมาตรฐานของวิธีการติดต่อ ในระบบเครือข่าย Internet จนกระทั่งปัจจุบัน จึงสังเกตุได้ว่า ในเครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องที่จะต่อ internet ได้จะต้องเพิ่ม TCP/IP ลงไปเสมอ เพราะ TCP/IP คือข้อกำหนดที่ทำให้คอมพิวเตอร์ทั่วโลก ทุก platform คุยกันรู้เรื่อง และสื่อสารกันได้อย่างถูกต้อง
- การกำหนดชื่อโดเมน (Domain Name System) มีขึ้นเมื่อ ค.ศ.1986(พ.ศ.2529) เพื่อสร้างฐานข้อมูล แบบกระจาย (Distribution database) อยู่ในแต่ละเครือข่าย และให้ ISP(Internet Service Provider) ช่วยจัดทำฐานข้อมูลของตนเอง จึงไม่จำเป็นต้องมีฐานข้อมูลแบบรวมศูนย์ เหมือนแต่ก่อน เช่น การเรียกเว็บ www.yonok.ac.th จะไปที่ตรวจสอบว่ามีชื่อนี้ หรือไม่ ที่ www.thnic.co.th ซึ่งมีฐานข้อมูล ของเว็บที่ลงท้ายด้วย th ทั้งหมด เป็นต้น
- DARPA ได้ทำหน้าที่รับผิดชอบดูแลระบบ internet เรื่อยมาจนถึง ค.ศ.1980(พ.ศ.2533) และให้ มูลนิธิวิทยาศาสตร์แห่งชาติ (National Science Foundation - NSF) เข้ามาดูแลแทนร่วม กับอีกหลายหน่วยงาน
- ในความเป็นจริง ไม่มีใครเป็นเจ้าของ internet และไม่มีใครมีสิทธิขาดแต่เพียงผู้เดียว ในการกำหนดมาตรฐานใหม่ต่าง ๆ ผู้ติดสินว่าสิ่งไหนดี มาตรฐานไหนจะได้รับการยอมรับ คือ ผู้ใช้ ที่กระจายอยู่ทั่วทุกมุมโลก ที่ได้ทดลองใช้มาตรฐานเหล่านั้น และจะใช้ต่อไปหรือไม่เท่านั้น ส่วนมาตรฐานเดิมที่เป็นพื้นฐานของระบบ เช่น TCP/IP หรือ Domain name ก็จะต้องยึดตามนั้นต่อไป เพราะ Internet เป็นระบบกระจายฐานข้อมูล การจะเปลี่ยนแปลงระบบพื้นฐาน จึงไม่ใช่เรื่องง่ายนัก
- ในปัจจุบัน เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) หรือที่เรียกกันสั้นๆ ว่า ไอที (IT) กำลังได้รับ ความสนใจเป็นอย่างมาก เพราะเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology)จะเป็นตัวที่ทำให้ เกิดความรู้ วิธีการประมวลผล การจัดเก็บรวบรวมข้อมูล การเรียกใช้ข้อมูล ตลอดจนการเรียกใช้ข้อมูล ด้วยวิธีการทางอิเล็คทรอนิคส์ เมื่อเราให้ความสำคัญกับเ ทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) ความจำเป็นที่จะต้องมีเครื่องมือในการใช้งานไอที เครื่องมือนั้นก็คือเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ สื่อสารโทรคมนาคม อินเตอร์เน็ตนับว่าเป็นเครื่องมืออย่างหนึ่งในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) หรือไอที เพราะเราสามารถที่จะใช้งาน หาข้อมูลข่าวสาร และเข้าถึงข้อมูล ได้ด้วยเวลาอันรวดเร็ว อินเตอร์เน็ตเปรียบเสมือนห้องสมุดขนาดใหญ่ที่มีข้อมูลเรื่องราวต่างๆ มากมาย ให้เราค้นหา ข่าวสารที่ทันสมัย ทันต่อเหตุการณ์ ที่เกิดขึ้นทั่วทุกมุมโลกเราสามารถที่จะทราบได้ทันที จึงนับได้ว่า อินเตอร์เน็ตนั้นเป็นเครื่องมือสำคัญอย่างหนึ่งในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี
telnet
• เครื่องมือพื้นฐาน ที่ใช้สำหรับติดต่อกับเครื่อง Server ที่เป็น UNIX หรือ LINUX เพื่อใช้เข้าไปควบคุม การทำงานของเครื่อง หรือใช้อ่าน mail หรือใช้ปรับปรุง homepage หรือใช้เรียกโปรแกรมประมวลผลใด ๆ หรือใช้พัฒนาโปรแกรมและใช้งานในเครื่องนั้น เป็นต้น เพราะระบบ UNIX หรือ LINUX จะยอมให้ผู้ใช้สร้าง application ด้วย Compiler ภาษาต่าง ๆ ได้อย่างอิสระ และเชื่อมต่อกับ Internet ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพราะ Internet เริ่มต้นมาจากระบบ UNIX นี้เอง
• ประโยชน์อย่างหนึ่งที่ผู้ใช้โปรแกรม Telnet มักคุ้นเคย คือการใช้โปรแกรม PINE ซึ่งมีอยู่ใน Telnet สำหรับรับ-ส่ง mail และมีผู้ใช้อีกมากที่ไม่รู้ตัว ว่าตนเองกำลังใช้งาน UNIX อยู่ ทั้ง ๆ ที่ใช้ PINE ติดต่องานอยู่ทุกวัน เดิมที่ระบบ UNIX ไม่มีโปรแกรม PINE แต่มีนักศึกษาที่มหาวิทยาลัย WASHINGTON University เพราะใช้ง่ายกว่าการใช้คำสั่ง mail ในการรับ-ส่งมาก
• แต่ผู้ใช้ที่ใช้ E-Mail กับเครื่อง UNIX หรือ LINUX ซึ่งใช้ตามมาตรฐาน IMAP มักเป็นกลุ่มนักศึกษา ในมหาวิทยาลัย ที่มหาวิทยาลัยได้ให้บริการ E-Mail ซึ่งมีข้อจำกัดบางประการ และหลายมหาวิทยาลัย เช่นกันที่ทำฐานข้อมูล Mail ใน UNIX และให้บริการ Mail ผ่าน browser ได้ ซึ่งเป็นหลักการที่ผู้ให้บริการ mail ฟรีหลายแห่งใช้กันอยู่
• สำหรับโปรแกรม Telnet ผู้ต้องการใช้บริการ ไม่จำเป็นต้องไป download เพราะเครื่องที่ทำการติดตั้ง TCP/IP จะติดตั้งโปรแกรม telnet.exe ไว้ในห้อง c:\windows เพื่อให้ผู้ใช้สามารถเรียกใช้ได้อยู่แล้ว แต่ ปัญหาหนักอยู่ที่วิธีการใช้ เพราะระบบ UNIX เป็นการทำงานใน Text mode เป็นหลัก การจะใช้คำสั่งต่าง ๆ ผู้ใช้จะต้องเรียนรู้มาก่อน จึงจะใช้งานได้ในระดับที่พึ่งตนเองได้ มิเช่นนั้นก็จะเหมือน คนตาบอดเดินอยู่ กลางถนน หากใช้คำสั่งไม่ถูกต้อง อาจทำให้เกิดปัญหาทั้งกับตนเอง และระบบได้ภาพ mailtel.gif
Electronic mail
• บริการ E-Mail ฟรี เป็นบริการที่มีผู้ใช้กันมาก เพราะใช้สำหรับส่ง และอ่านข้อความ กับผู้ที่ต้องการติดต่อด้วย และใช้แทนจดหมายได้อย่างดี เพราะไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย และผู้รับจะได้รับในเวลาเกือบทันทีที่ส่งไป ผู้ใหับริการ E-Mail ฟรีในปัจจุบัน เช่นของ hotmail หรือ yahoo mail หรือ ตามแต่ละประเทศ ที่คนในประเทศจะทำ Server ให้บริการ สำหรับกลุ่มที่มีความสนใจคล้าย ๆ กัน เช่น thaimail.com หรือ chaiyo.com ซึ่งเป็นของคนไทย และ mail ฟรีเหล่านี้จะให้บริการไปเรื่อย ๆ ไม่มีการหมดอายุ แต่จะหมดอายุถ้าผู้ใช้เกิดเลิกใช้เป็นเวลานานเกินไป สำหรับ E-Mail ของสถาบัน จะหมดอายุแน่นอน หลักจากที่สำเร็จการศึกษา จึงเป็นจุดบกพร่องข้อใหญ่ ที่ทำให้นักศึกษา หันไปใช้ E-Mail ฟรี มากกว่าที่สถาบัน จัดไว้ให้
• การใช้ E-Mail กับผู้ให้บริการฟรี เช่น thaimail.com, lampang.net, thaiall.com หรือ chaiyo.com นั้น ผู้ใช้จะต้องไป download โปรแกรม browser เช่น netscape หรือ Internet Explorer หรือ Opera หรือ NeoPlanet มาไว้ในเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ต่อ Internet แล้วเปิดหน้าเว็บของแหล่งบริการ เพื่อใช้บริการ E-Mail ดังกล่าว ซึ่งผู้ใช้จะต้องขอใช้บริการ และจะได้รับ userid และ password ประจำตัว เพื่อ login เข้าใช้บริการ E-Mail ทุกครั้ง
• ปัจจุบันการขอใช้บริการ E-Mail สามารถเลือกได้ที่จะใช้ web-based หรือ POP เพราะแต่ละแบบมีจุดเด่น จุดด้อยที่แตกต่างกัน โดย web-based จะเหมาะกับผู้ที่เดินทางเป็นประจำ ส่วน pop จะเหมาะกับผู้มีคอมพิวเตอร์ส่วนตัว
• รายละเอียดเกี่ยวกับ e-mail อ่านเพิ่มเติมได้ที่ http://www.thaiall.com/article/mail.htm
USENET news หรือ News group
• ในยุคแรกของ Internet บริการ USENET ได้มีผู้ใช้บริการ อย่างแพร่หลายอย่างมาก เพราะเป็นแหล่ง ที่ผู้ใช้ จะส่งคำถามเข้าไป และผู้ใช้คนอื่น ๆ ที่พอจะตอบคำถามได้ จะช่วยตอบ ทำให้เกิดสังคมของ การแลกเปลี่ยนข่าวสาร นอกจากการส่งข้อความเข้าไปใน USENET แล้ว ผู้ใช้ยังส่งแฟ้มในรูปแบบใด ๆ เข้าไปก็ได้ ซึ่งเรียกว่า Attach file หากแฟ้มที่ส่งเข้าไปเป็นภาพ gif หรือ jpg หรือแฟ้มที่มีการรองรับ ในระบบ internet ก็จะเปิดได้ทันทีด้วย browser หรือแล้วแต่โปรแกรมที่ใช้เปิด USENET นั้น
• แต่สำหรับประเทศไทย ผมสังเกตุว่า มีการเข้าไปใช้บริการในส่วนนี้ไม่มาก เพราะกลุ่มข่าว(News group) ที่ชื่อ soc.culture.thai ซึ่งเป็น 1 ในหลายหมื่นกลุ่มข่าว และมีชื่อที่เป็นไทยอย่างชัดเจน กลับมีคนต่างชาติ เข้าไปฝากข้อความไว้กว่าครึ่ง และมีคนไทยเพียงครึ่งเดียว ซึ่งเข้าใจว่าผู้ใช้ Internet ในประเทศไทยมักเน้นการใช้บริการ Internet 3 อย่างนี้ คือ Browser และ PIRC และ ICQ
• อีกเหตุผลหนึ่ง ที่คนไทยไม่ได้เข้าไปใช้บริการ USENET เท่าที่ควรก็เพราะ ในเว็บของคนไทยหลาย ๆ เว็บจะให้บริการที่ชื่อว่า wwwboard ผ่าน browser อยู่แล้ว ซึ่งมีลักษณะคล้ายคลึงกับ USENET อย่างมาก ทำให้คนไทยหันมาใช้ wwwboard แทน USENET ซึ่งต้องติดตั้งข้อกำหนดเพิ่มเติมให้กับ browser ซึ่งอาจรู้สึกยุ่งยาก ไม่รู้ หรือไม่คุ้นเคยก็เป็นได้ และปัจจุบันบริการต่าง ๆ มักจะรวมมาไว้ใน browser อย่างสมบูรณ์ ทำให้ผู้ใช้มากมาย ไม่เห็นความจำเป็นที่ต้องไปใช้โปรแกรมอื่น เพราะทุกวันนี้ก็ใช้บริการ ที่อยู่ใน browser ไม่หมดแล้ว เช่น web, mail, chat, wwwboard, game, quiz, pager, news, postcard, shopping, download เป็นต้น
• ถ้าเครื่องท่านถูก setup ให้อ่าน news ได้ ท่านสามารถเข้าไปที่ soc.culture.thai เพื่ออ่าน หรือส่งข่าวสาร ต่าง ๆ ได้
FTP (File Transfer Protocal - บริการโอนย้ายข้อมูล)
• บริการนี้ สามารถใช้ download แฟ้มผ่าน browser ได้เพราะการ download คือ การคัดลอกโปรแกรมจาก server มาไว้ในเครื่องของตน แต่ถ้าจะ upload แฟ้ม ซึ่งหมายถึง การส่งแฟ้มจากเครื่องของตน เข้าไปเก็บใน server เช่นการปรับปรุง homepage ให้ทันสมัย ซึ่ง homepage ของตนถูกจัดเก็บใน server ที่อยู่อีกซีกโลกหนึ่ง จะต้องใช้โปรแกรมอื่น เพื่อส่งแฟ้มเข้าไปใน server เช่นโปรแกรม cuteftp หรือ wsftp หรือ ftp ของ windows
• การ download นั้นไม่ยาก หากผู้ให้บริการยอมให้ใครก็ได้เข้าไป download แฟ้มใน server ของตน และผู้ใช้บริการรู้ว่าแฟ้มที่ต้องการนั้นอยู่ที่ใด แต่การ upload มักไม่ง่าย เพราะต้องใช้โปรแกรมเป็น และมีความเป็นเจ้าของในเนื้อที่ที่จะกระทำ รวมทั้งมี userid และ password เพื่อแสดงสิทธิในการเข้าใช้บริการ การศึกษาการส่งแฟ้มเข้าไปใน server อาจต้องหา บทเรียน ftp มาอ่านเพื่อศึกษาวิธีการส่ง หรือหาอ่านได้จาก เว็บที่ให้บริการ upload แฟ้ม ซึ่งมักเขียนไว้ละเอียดดีอยู่แล้ว
WWW
• World Wide Web คือบริการที่ให้ผู้ใช้ ใช้โปรแกรม Browser เช่น Netscape, Internet Explorer, Opera หรือ Neoplanet เป็นต้น ในการเปิดข้อมูลในลักษณะ Homepage ซึ่งสามารถนำเสนอได้ทั้งภาพ ภาพเคลื่อนไหว และเสียง ทำให้มีการแพร่หลาย และเป็นสื่อที่ได้รับความสนใจ และเติบโตอย่างรวดเร็ว
• บริการผ่านเว็บนี้ ได้รับการพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว ทำให้ผู้ใช้สามารถติดต่อในลักษณะ Interactive ด้วยโปรแกรมสนับสนุนต่าง ๆ จนทำให้ผู้ใช้สามารถใช้งานได้หลากหลาย ตัวอย่างเช่น การดูภาพยนต์ ผ่านเว็บ, การเล่นเกมส์, การทำข้อสอบ, การส่ง mail, การส่ง pager, การติดต่อซื้อขาย, การส่ง postcard เป็นต้น
Net2Phone
• บริการนี้คือการโทรศัพท์จากคอมพิวเตอร์ไปยังเครื่องรับโทรศัพท์จริง ๆ และได้รับความนิยม เป็นอย่างมาก เพราะมีอัตราค่าโทรศัพท์ที่ถูกกว่า และยังมีบริการ Net2Fax ซึ่งให้บริการ Fax เอกสาร
จากคอมพิวเตอร์ไปยังเครื่อง Fax จริง ๆ ซึ่งมีอัตราค่าบริการที่ถูกกว่าเช่นกัน
• บริการนี้ผู้ใช้ต้องไป download โปรแกรมมาติดตั้ง และจะต้องจ่ายเงินก่อน ซึ่งเป็นการซื้อเวลาล่วงหน้า เมื่อมีการใช้บริการ จึงจะหักค่าใช้บริการจากที่ซื้อไว้
Netmeeting
• เป็นโปรแกรมที่มีชื่อมาก เพราะทำให้คนจากซีกโลกหนึ่ง สามารถติดต่อกับอีกซีกโลก ด้วยเสียงจาก คอมพิวเตอร์ ซึ่งคล้ายโทรศัพท์ แต่ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายเพิ่มเติม แต่อย่างใด และโปรแกรมในลักษณะนี้ ยังเพิ่มความสามารถในการทำงานร่วมกับ เครื่องรับภาพ digital ดังนั้นคนที่มีโปรแกรมนี้จะคุยกันและ เห็นภาพของแต่ละฝ่าย จึงทำให้การติดต่อมีประสิทธิภาพ โดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย เพิ่มเติม
• บริการนี้ผู้ใช้ต้องไป download โปรแกรมาติดตั้ง แต่ปัญหาที่สำคัญในการติดต่อแบบนี้คือเรื่อง ของความเร็ว เพราะการติดต่อด้วยเสียง อาจได้เสียงที่ไม่ชัดเจน หรืออาจขาดหายระหว่างการสนทนา หากความเร็วในการเชื่อมต่อ internet ไม่เร็วพอ และจะเป็นไปไม่ได้ ถ้าจะเพิ่มการรับ-ส่งภาพ แบบ VDO สำหรับเครื่องที่เชื่อมต่อด้วยความเร็วต่ำ
ICQ
• บริการนี้เป็น บริการที่เยี่ยมมาก และได้รับความนิยม เพิ่มขึ้นทุกวัน เพราะผู้ที่มีคอมพิวเตอร์ เป็นของตนเอง และมีโปรแกรม ICQ อยู่ในเครื่อง จะสามารถติดต่อกับเพื่อน ที่ใช้โปรแกรม ICQ อยู่ได้อย่างสะดวก เพราะเมื่อเปิดเครื่อง โปรแกรมนี้จะแสดงสถานะของเครื่องคอมพิวเตอร์ ที่ทำการตรวจสอบไว้ ว่า Online อยู่หรือไม่ เปรียบเสมือนการมี pager ติดคอมพิวเตอร์ไว้ทีเดียว
• ได้มีผู้พัฒนาโปรแกรมเสริมอีกมากมาย ให้ ICQ สามารถทำงานได้หลายหลายมากขึ้น และยิ่ง แพร่กระจายได้เร็ว ในกลุ่มหนุ่มสาว ที่ต้องการเพิ่ม เพราะจะแสดงสถานะของ เครื่องเพื่อน เมื่อเปิด คอมพิวเตอร์ ทำให้สามารถติดต่อได้รวดเร็ว โดยไม่ต้องโทรไปถามบ่อย ๆ ว่าเปิดคอมพิวเตอร์หรือยัง เป็นต้น
• บริการนี้ผู้ใช้ต้องไป download โปรแกรมาติดตั้ง และเป็นโปรแกรมที่ download ได้ฟรี
IRC : Internet Relay Chat
• บริการนี้คนไทยทุกวัย ชอบกันมาก โดยเฉพาะโปรแกรม PIRC เพราะทำให้สามารถคุยกับใครก็ได้ที่ใช้ โปรแกรม PIRC การคุยกันจะใช้ผ่านแป้นพิมพ์เป็นสำคัญ โดยไม่ต้องเห็นหน้า หรือรับผิดชอบต่อสิ่ง ที่พิมพ์ออกไป อย่างจริงจัง เพราะไม่มีการควบคุมจากศูนย์ที่ชัดเจน ทำให้ทุกคนมีอิสระที่จะคิดจะส่ง ข้อมูลออกไป ได้ทุกชาติ ทุกภาษา
• ใน IRC ใด ๆ มักจะมีการแบ่งเป็นห้อง ๆ โดยมีชื่อห้องบอกว่า ในห้องนั้นจะคุยกันเรื่องอะไร เช่น "วิธีแก้เหงา" หากใครต้องการคุยถึงวิธีแก้เหงา เข้าไปในห้องนั้น หรือหลาย ๆ ห้องได้ และแสดงความเห็น อะไรออกไปก็ได้ และยังสามารถเลือกคุยกับใครเป็นการส่วนตัว หรือจะคุยให้ทุกคน ที่เปิดหัวข้อนี้ รับทราบก็ได้ เมื่อคุยกันถูกคอก็สามารถ ที่จะนัดพบกันตามสถานที่ต่าง ๆ เพื่อนสร้างสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน หรือจะนัดคุยกันในคอมพิวเตอร์ ในครั้งต่อไป ในห้องที่กำหนดขึ้นก็ได้ จึงทำให้ทุกเพศทุกวัยชื่นชอบ ที่จะใช้บริการนี้อย่างมาก
• บริการนี้ผู้ใช้ต้องไป download โปรแกรมาติดตั้ง และเป็น Shareware หากผู้ใช้พอใจ สามารถที่จะ ลงทะเบียนเพื่อจ่ายเงิน $20 ได้
Game online
• เกมกลยุทธหลาย ๆ เกมที่ โปรแกรมจะจำลองสถานการณ์การรบ ทำให้ผู้ใช้สามารถต่อสู้กับ คอมพิวเตอร์ เสมือนคอมพิวเตอร์คิดเอง และสู้กับเราได้ แต่ก็ยังมีจุดบกพร่องของเกมที่ไม่สามารถสร้าง ความมันส์ เหมือนกับการสู้กับคนที่คิด และพูดกับอีกฝ่ายได้ จึงได้มีการสร้างเกม และบริการที่ทำ ให้ผู้ใช ้ ้ต่อสู้กัน โดยให้ผู้ใช้ติดต่อเข้าไปในเครื่องบริการ แล้วเสียเงินลงทะเบียน จากนั้นจะสามารถขอเข้าไป เล่นเกมกับใครก็ได้ในโลก ที่เสียเงินเช่นกัน และพูดคุยกันผ่านแป้นพิมพ์ เป็นการทำ ความรู้จักกัน ในขณะเล่นเกมได้อีกด้วย ซึ่งเป็นบริการที่กำลังเติมโต อย่างรวดเร็วอีกบริการหนึ่ง ในโลก Internet
Software Updating
• มีโปรแกรมมากมายที่ใช้ประโยชน์จาก Internet และหนึ่งในนั้นก็คือ บริการปรับปรุงโปรแกรม แบบ Online เช่น โปรแกรมฆ่าไวรัส ที่มีชื่อเสียง เกือบทุกโปรแกรม จะยอมให้ผู้ใช้สามารถปรับปรุงข้อมูลใหม่ เพื่อใช้สำหรับเตรียมต่อสู้กับไวรัส ที่มาใหม่เสมอ ผู้ใช้เพียงแต่เลือก Click บนปุ่ม Update จากนั้น โปรแกรมจะทำทุกอย่างใหม่หมด จนกระทั่งการ update สมบูรณ์ หรือแม้แต่ Microsoft Windows ที่ยอมให้ผู้ใช้สามารถ Update โปรแกรมที่ตนขายไปแล้ว แต่มาพบข้อผิดพลาดทีหลัง หลังจากแก้ไข จะยอมให้ผู้ใช้ Update โปรแกรมได้ฟรี เพราะถือเป็นความผิดพลาดที่ต้องรับผิดชอบ เป็นต้น
Palm หรือ PocketPC
• Palm หรือ PocketPC นั้นต่างก็เป็น Organizer ยุคใหม่มีอีกชื่อหนึ่งว่า PDA (Personal Digital Assistant) ซึ่งถูกตั้งชื่อโดย Apple ตั้งแต่ปี 1990 แต่สมัยนั้นยังไม่สำเร็จ จึงมีการพัฒนาการเรื่อยมา จนถึงปัจจุบัน
• คอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก ที่มีความสามารถสูงมาก เพราะสามารถพัฒนาโปรแกรม สั่งให้ palm ทำงานได้หลาย ๆ อย่าง ทำให้ความสามารถหลักด้าน organizer กลายเป็นส่วนประกอบไปเลย เพราะมีผู้พัฒนาโปรแกรมให้กับ palm มากทีเดียว คนไทยก็ทำครับ เพื่อให้ palm เข้าใจภาษาไทย และใช้ปากกาเขียนภาษาไทยให้ palm อ่านรู้เรื่องได้ทันที
• Palm สามารถทำงานร่วมกับคอมพิวเตอร์ โดยมีการแลกเปลี่ยนข้อมูลกัน โดยผู้ใช้ palm สามารถเขียน mail ใน palm เพื่อต้องการส่งก็ upload เข้าคอมพิวเตอร์ที่ online กับ internet แล้ว คอมพิวเตอร์ก็จะทำหน้าที่ส่ง mail ให้อัตโนมัติ รวมถึงการรับ mail ใหม่เข้าไปใน palm ทำให้สามารถอ่าน mail จากที่ไหนก็ได้ แต่เป็นการทำงานแบบ offline นะครับ ไม่เหมือนมือถือที่อ่าน mail ได้แบบ online แต่ palm ไม่ใช่มือถือครับ
ภาพทั้งหมดเกี่ยวกับ palm ได้มาจาก http://www.palm.com
PocketPC คืออะไร
คือ ผลจากที่ปี 1998 Microsoft แนะนำ WindowCE ซึ่งทำงานกับ Palm-sized PC ซึ่งพยายามตี palm ให้แตก ด้วยการสร้างระบบปฏิบัติการ ที่เป็นมาตรฐานใหม่ บริษัทต่าง ๆ ที่สนใจจึงเริ่มผลิตสินค้า ที่ใช้ Windows CE โดยมีชื่อเรียกอุปกรณ์เหล่านี้ว่า PocketPC คอมพิวเตอร์ขนาดเล็กที่กำหนดมาตรฐานโดย Microsoft เจ้าเก่า(งานนี้ palm อาจต้องหนาว) ทำให้ PocketPC ที่ผลิดโดยบริษัทใดก็แล้วแต่ เช่น Compaq, Casio, HP เป็นต้น สามารถเปิดเว็บ พิมพ์ Word หรือ Excel ฟัง MP3 หรือแม้แต่ดูหนัง ก็ยังได้
กองทัพอุปกรณ์เทคโนโลยี จาก casio.com นำทัพโดย PocketPC ที่จะมาโค่น palm
WAP
• Wireless Application Protocal เป็นเทคโนโลยีที่ทำให้โทรศัพท์ สามารถเปิดเว็บที่ถูกเขียนมาเพื่อ โทรศัพท์มือถือโดยเฉพาะได้ เว็บของไทยที่ให้บริการแล้ว เช่น http://wap.wopwap.com, http://wap.siam2you.com, http://wap.a-roi.com, http://wap.mweb.co.th เป็นต้น
• โทรศัพท์ที่ออกมาให้บริการแล้ว เช่น Nokia7110, Nokia9110i, EricssonR320, EricssonA2618, Alcatel OneTouch View WAP หรือ 300 family หรือ 500 family หรือ 700 family, MotorolaV8088 เป็นต้น
• เว็บที่มีข้อมูลเรื่อง wap เช่น wapinsight.com, wap-uk.com, waphq.com, wapjag.com, yourwap.com, waptastic.com เป็นต้น
WAP ย่อมาจากคำว่า Wireless Application Protocal เป็นเทคโนโลยีที่สามารถทำให้โทรศัพท์มือถือ หน้าจอเล็กๆ ของคุณสามารถเชื่อมต่อเข้าสู่เครือข่ายอินเทอร์เน็ต ได้โดยตรง ทำให้คุณสามารถ ทำอะไรได้หลากหลายเสมือนกับคุณใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ที่บ้านเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตผ่าน Browser เลยทีเดียว ไม่ว่าจะเป็น การค้นหาสืบค้นข้อมูล หรือการใช้บริการต่างๆ ของ WAP Site และที่สำคัญที่สุดคือ คุณสามารถทำกิจกรรมเหล่านี้ได้ทุกที่ทุกเวลาตราบใดที่ยังมีสัญญาณมือถือ หรือสัญญาณ GPRS อยู่นั่นเอง
ข้อมูลจาก http://school.obec.go.th/borkruwitt/inter/internet_h.htm |
ข้อมูลจาก http://www.nectec.or.th/courseware/internet/internet-tech/0001.html |
ข้อมูลจาก http://www.computers.co.th/blog/?p=6 ทั้งหมดมาจากhttp://www.krujongrak.com/internet/internet.html |
การปลูกป่า 3 อย่าง ได้ประโยชน์ 4 อย่าง
การปลูกป่า 3 อย่าง ได้ประโยชน์ 4 อย่าง พระองค์มีพระราชดำรัส ดังนี้
“การ ปลูกป่าถ้าจะให้ราษฎรมีประโยชน์ให้เขาได้ให้ใช้วิธีปลูกไม้ 3 อย่าง แต่มีประโยชน์ 4 อย่าง คือ ไม้ใช้สอย ไม้กินได้
ไม้เศรษฐกิจ โดยปลูกรองรับการชลประทาน ปลูกรับซับน้ำ และปลูกอุดช่วงไหล่ตามร่องห้วยโดยรับน้ำฝนอย่างเดียว
ประโยชน์อย่างที่ 4 คือสามารถช่วยอนุรักษ์ดินและน้ำ”
ไม้เศรษฐกิจ โดยปลูกรองรับการชลประทาน ปลูกรับซับน้ำ และปลูกอุดช่วงไหล่ตามร่องห้วยโดยรับน้ำฝนอย่างเดียว
ประโยชน์อย่างที่ 4 คือสามารถช่วยอนุรักษ์ดินและน้ำ”
แปลความสรุปอย่างเข้าใจง่าย ปลูกไม้ให้พออยู่ พอกิน พอใช้ และระบบนิเวศน์
พออยู่ หมายถึง ไม้เศรษฐกิจปลูกไว้ทำที่อยู่อาศัย และจำหน่าย
พอกิน หมายถึง ปลูกพืชเกษตรเพื่อการกินและสมุนไพร
พอใช้ หมายถึง ปลูกไม้ไว้ใช้สอยโดยตรงและพลังงาน เช่น ไม้ฟืน, และไม้ไผ่ เป็นต้น
ประโยชน์ต่อระบบนิเวศน์ สร้างความสมบูรณ์และก่อให้เกิดความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ป่า
พออยู่ หมายถึง ไม้เศรษฐกิจปลูกไว้ทำที่อยู่อาศัย และจำหน่าย
พอกิน หมายถึง ปลูกพืชเกษตรเพื่อการกินและสมุนไพร
พอใช้ หมายถึง ปลูกไม้ไว้ใช้สอยโดยตรงและพลังงาน เช่น ไม้ฟืน, และไม้ไผ่ เป็นต้น
ประโยชน์ต่อระบบนิเวศน์ สร้างความสมบูรณ์และก่อให้เกิดความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ป่า
โครงการปลูกป่า 3 อย่างประโยชน์ 4 อย่าง ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
หลักการและเหตุผล
วัตถุประสงค์
1. ให้ประชาชนปลูกต้นไม้ตามแนวคิด ป่า 3 อย่างประโยชน์ 4 อย่าง
2. จัดรูปแบบการปลูกให้เกิดคุณค่าและบูรณาการในพื้นที่ทำกินเดิมให้มีสภาพใกล้เคียงกับป่า
3. สร้างมูลค่าต้นไม้ที่ปลูกทำให้เป็นทรัพย์ เพื่อออมทรัพย์และใช้แก้ปัญหาความยากจน
วิธีการดำเนินการ
1. การจัดแบ่งที่ดินทำกินเพื่อใช้ปลูกป่า 3 อย่าง ประโยชน์ 4 อย่าง จากพื้นที่ทำกินอยู่เดิม ที่เป็นพื้นที่สวน ไร่หรือนา แบ่งพื้นที่ออกมา ร้อยละ 30-50 โดยมีรูปแบบการจัดแบ่ง 3 รูปแบบ ดังนี้
1. พื้นที่จัดแบ่งปลูกป่า 3 อย่างประโยชน์ 4 อย่าง
1.1 จัดแบ่งโดยใช้พื้นที่รอบแนวเขตพื้นที่ทำกิน ปลูกในพื้นที่ร้อยละ 30-50 ตามแนวเขตแดนพื้นที่ ทำกิน
2. พื้นที่จัดแบ่งปลูกป่า 3 อย่างประโยชน์ 4 อย่าง
1.2 จัดแบ่งออกมาชัดเจนเป็นส่วน ปลูกในพื้นที่ร้อยละ 30-50 โดยจัดส่วนอยู่ด้านหนึ่งของพื้นที่
1.3 จัดแบ่งเป็นริ้วหรือแถบตามความเหมาะสม
3. พื้นที่จัดแบ่งปลูกป่า 3 อย่างประโยชน์ 4 อย่าง
2. การจัดองค์ประกอบ พันธุ์ไม้ตามวัตถุประสงค์ โดยการปลูกพันธุ์ไม้ในพื้นที่ตามความเหมาะสม แต่ให้ได้องค์ประกอบซึ่งให้เกิดความพออยู่ พอกิน พอใช้ ดังนี้
2.1 ปลูก เพื่อให้เกิดความเพียงพอในด้านพออยู่ เช่น การปลูกต้นไม้สำหรับใช้เนื้อไม้มาปลูกสร้างอาคารบ้านเรือนที่อยู่อาศัย เช่น ไม้ตะเคียนทอง, สัก, ยางนา, มะฮอกกานี, กระทินเทพา, จำปาทอง ฯลฯ
2.2 ปลูกเพื่อให้เกิดความเพียงพอในด้านการพอกิน เช่นการปลูกต้นไม้สำหรับใช้กิน เป็นอาหาร เป็นยาสมุนไพร เป็นเครื่องดื่ม ตลอดจนพืชที่ปลูกเพื่อการค้าขายผลผลิตเพื่อดำรงชีพ เช่น ไม้ผลต่าง ๆ ได้แก่ เงาะ, ทุเรียน, มังคุด, ลองกอง, มะม่วง ฯลฯ ไม้ที่ให้ผลผลิตเพื่อขาย เช่น ปาล์ม, มะพร้าว, ยางพารา ฯลฯ
2.3 ปลูกเพื่อให้เกิดความเพียงพอในด้านการพอใช้ เช่น ปลูกต้นไม้สำหรับใช้สอย ในครัวเรือน ใช้พลังงาน ใช้เป็นเครื่องมือต่าง ๆ ในการประกอบอาชีพ ได้แก่ ไม้ไผ่,หวาย สำหรับจักสานเป็นเครื่องเรือน ของใช้ ฯลฯ ไม้โตเร็วบางชนิดที่ใช้เป็นไม้ฟืน,ถ่าน ไม้พลังงาน เช่น สบู่ดำ, ปาล์ม ฯลฯ ไม้ทำเครื่องมือการเกษตร ได้แก่ การทำด้ามจอบ, มีด, ขวาน, ทำรถเข็น, โต๊ะ, เก้าอี้, ตู้ ฯลฯ
องค์ประกอบตามวัตถุประสงค์ ป่า 3 อย่าง ประโยชน์ 4 อย่าง
จัดโครงสร้างและลำดับชั้นต้นไม้ในป่า 3 อย่างประโยชน์ 4 อย่าง เป็นการจัดโครงสร้าง พันธุ์ไม้ให้มีสภาพใกล้เคียงกับป่า เพื่อเป็นประโยชน์ต่อความสมดุลของระบบนิเวศ โดยให้มีชั้นเรือนยอด 3 ชั้น ได้แก่ เรือนยอดชั้นบน เรือนยอดชั้นกลาง เรือนยอดชั้นล่าง และหากจัดโครงสร้างด้านการใช้ประโยชน์จะเป็น 4 ระดับ คือ ชั้นบน ชั้นกลาง ชั้นล่างและชั้นใต้ดิน ตามรูปแบบเกษตร 4 ชั้น, สวนโบราณ, สวนสมรม
3.1 ไม้เรือนยอดชั้นบนได้แก่ ไม้ที่ปลูกใช้เนื้อไม้ทำที่อยู่อาศัย เช่น ตะเคียนทอง, สัก ยางนา, สะเดา, จำปาทอง ฯลฯ และไม้ที่ลำต้นสูงและที่ลูกเป็นอาหารได้ เช่น สะตอ, เหรียง, กระท้อน, มะพร้าว หมาก ฯลฯ
3.2 ไม้ เรือนยอดชั้นกลางส่วนใหญ่เป็นไม้เพื่อการกิน, การขาย, การใช้เป็นอาหารและสมุนไพร เช่น มะม่วง, ขนุน, ชมพู่, มังคุด, ไผ่, ทุเรียน, ลองกอง, ปาล์ม ฯลฯ
3.3 ไม้ที่ปกคลุมผิวดิน ทั้งที่เป็นอาหาร, สมุนไพรและของใช้ เช่น กาแฟ ผักป่าชนิดต่าง ๆ ชะพูล, มะนาว, หวาย, สบู่ดำ ฯลฯ
3.4 พันธุ์พืชที่ใช้ประโยชน์จากส่วนที่อยู่ใต้ดิน (พืชหัว)เป็นพืชที่ปลูกเพื่อความพอเพียงในด้านการกิน ได้แก่ กลอย, ขิง ข่า, กระชาย, กระทือ ฯลฯ
ซึ่ง กระบวนการปลูกในรูปแบบดังกล่าวจะได้พันธุ์ไม้ที่เกิดป่า 3 อย่าง คือ ป่าเพื่อพออยู่ ป่าเพื่อพอกินและป่าเพื่อพอใช้ และจะได้ประโยชน์เพิ่มในด้านการรักษาสมดุลด้านสิ่งแวดล้อม
เรือนยอดชั้นบน
เรือนยอดชั้นกลาง
เรือนยอดชั้นล่าง
ใต้ดิน
ภาพการจัดโครงสร้างและลำดับชั้นเรือนยอดในป่า 3 อย่าง ประโยชน์ 4 อย่างที่มีลักษณะใกล้เคียงสภาพป่า
4. กระบวนการสร้างมูลค่าต้นไม้ ในโครงการปลูกป่า 3 อย่างประโยชน์ 4 อย่าง เป็นการให้คุณค่าไม้ ให้เป็นมูลค่าเพื่อเกิดการพออยู่ตามนัยที่ ให้พอรักษาที่ดินทำกินให้อยู่กับเจ้าของผู้ทำกิน ให้เป็นมูลค่าเพื่อการศึกษาเรียนรู้ ในการลดค่าใช้จ่ายจากพืชที่ปลูกไว้บริโภคเอง
5. พื้นที่ปลูกป่า 3 อย่าง ประโยชน์ 4 อย่าง
5.1 ในพื้นที่ทำกินของประชาชนในชุมชนที่อยู่ในหรือรอบแนวเขตป่า
5.2 ชุมชนต้นแบบเศรษฐกิจพอเพียงตามความเหมาะสม
5.3 ในพื้นที่ใช้ประโยชน์ร่วมกันของชุมชน
เครดิตจาก http://www.greencoun.com/3forest_4benefits.php
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)